สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
อุบลราชธานี
HDC v4.0
จำนวนผู้เยี่ยมชม
ตั้งแต่ 1ต.ค.2557
รายงานตามตัวชี้วัดกระทรวง ปี 2560
ข้อมูลระดับจังหวัด : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลงาน อัตรา
- 1. ร้อยละสถานบริการสุขภาพที่มีการคลอดมาตรฐาน
- 2. อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
- 3. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย12,206 11,155 91.39
- 4. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
- 5. เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 100
- 6. ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน
- 7. ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป
- 8. OHSP ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) (คน)2,867 2,327 81.16
- 9. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี
- 10. ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน มีค่าดัชนีมวลกายปกติ160,588 86,968 54.16
- 11. ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ
- 13. ร้อยละของ Healthy Ageing
- 14. ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง
- 15. อัตราความสาเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้า
- 16. ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก
- 18. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้าของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี
- 20. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน6,922 147 2.12
- 21. ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย
- 22. ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
- 23. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป231,174 17,559 7.60
- 24. ปริมาณการบริโภคต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป (ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี)
- 26. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด
- 27. ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้รับการตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด
- 28. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital
- 29. จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่าง บูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
- 30. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster)
- 31. ร้อยละของอาเภอที่มี District Health System (DHS) คุณภาพ
- 32. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้18,919 626 3.31
- 33. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) 15,368 13,437 87.43
- 34. อัตราตายของผู้ป่วยใน โรคหลอดเลือดสมอง191 1 0.52
- 35. อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังต่อประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป251,196 619 246.42
- 37. การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพลดลง 4 สาขา
- 38. อัตราตายทารกแรกเกิด
- 39. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care)
- 40. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (รวมส่งเสริมป้องกัน)994,650 224,833 22.60
- 42. อัตราการฆ่าตัวตายสาเร็จ
- 44. ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย STEMI ได้
- 45. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ
- 46. ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบาบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก
- 47. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ
- 48. อัตราตายจากมะเร็งปอด
- 49. KPI CKD 2.3 การชะลอความเสื่อมของไต ผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73 m2/yr3,328 1,877 56.40
- 50. ร้อยละผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน
- 51. OHSP ร้อยละ รพ.สต./ศสม. ผ่านเกณฑ์ จัดบริการสุขภาพช่องปาก 6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรมและจัดบริการสุขภาพช่องปาก 200 คนต่อ 1000 ประชากร337 73 21.66
- 53. ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ
- 54. ร้อยละของ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป
- 55. ร้อยละ EMS คุณภาพใน รพ. ทุกระดับ
- 56. อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma)
- 57. ร้อยละหน่วยบริการผ่านเกณฑ์มาตราฐาน 2P safety
- 59. ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอาเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ
- 60. ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพที่กาหนด
- 61. ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สาหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กาหนด
- 62. สัดส่วนของแรงงานต่างด้าวที่ได้รับการดูแลรักษาปัญหาสุขภาพที่ตรวจพบ
- 66. ร้อยละของยากลุ่มเป้าหมายที่ผลิตหรือนาเข้าเพื่อทดแทนยาต้นแบบเพิ่มขึ้น
- 67. ร้อยละรายการยาและเครื่องมือแพทย์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน
- 68. จานวนตารับยาแผนไทยแห่งชาติ
- 69. จานวนนวัตกรรมที่คิดค้นใหม่ เทคโนโลยีสุขภาพ หรือพัฒนาต่อยอดการให้บริการด้านสุขภาพ
- 70. จานวนงานวิจัยสมุนไพร/งานวิจัยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกที่นามาใช้จริงทางการแพทย์ หรือการตลาด
- 71. ระดับความสาเร็จในการวางแผนกาลังคนด้านสุขภาพของเขตสุขภาพ
- 77. ร้อยละของอาเภอที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ
- 78. ร้อยละของครอบครัวที่มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด